ว่า กัน ด้วย เรื่อง อาการ ปวดตา ถือ เป็น เรื่อง สุด เซนซิทีฟ ของ ชาว เรา ใน ปัจจุบัน

เนื่องจาก การใช้ สายตา ที่ มากขึ้น จาก การ วิถี ชีวิต ที่ เปลี่ยนแปลง ไป

ตาม ยุคสมัย หลาย คน ทำงาน เรียน หรือ เล่น โซเชียล จน เกิด อาการ ปวดตา

ที่ ร้าย ไป กว่า นั้น คือ หลาย คน ปวดตา แบบ เรื้อรัง แล้ว ยัง ชะล่า ใจ อยู่

เพราะ อาการ ปวดตา เรื้อรัง สามารถ นำ ไป สู่  โรค จอประสาทตาเสื่อม และ ทำ ให้ ตา บอด ถาวร ได้ ภายใน 2 ปี!!

 

ใครที่ ปวดตา แบบเรื้อรังมายาวนานแล้วยังชะล่าใจ ต้องหยุด❗️

รู้ หรือ ไม่ ว่า ความ จริง แล้ว การ ปวดตา สามารถ นำ ไป สู่

โรค จอ ประสาท ตา เสื่อม ได้ และ ยิ่ง กว่า นั้น หาก เลือก ปล่อย ไว้ นานๆ สามารถ ทำ ให้ ตาบอด ได้

สา เหตุ ของ โรค จอประสาทตาเสื่อม มัก เกิด จาก การ พักผ่อน น้อย ความ เครียด

รวม ถึง การ ใช้ สายตา เป็น เวลา นานๆ ติดต่อ กัน จน เกิด อาการ ปวดตา 

โดย เฉพาะ กับ เครื่องมือ อิเล็กทรอนิกส์ ที่ เป็น กลุ่ม แสง สีฟ้า (Blue light)

ซึ่ง แสง สี ฟ้า นี้ จะ เข้า ไป ทำ ลาย ส่วน เนื้อ เยื่อ ที่ รับ แสง สี ของ จอ ประสาท

ตา เนื้อ เยื่อ นี้ เมื่อ ถูก ทำลาย แล้ว จะ ไม่ สามารถ สร้าง ขึ้น มา ใหม่ ได้

ส่ง ผล ให้ เกิด ภาวะ จอประสาทตาเสื่อม และ ตาบอด ถาวร ได้ 

 

โรค จอประสาทตาเสื่อม คืออะไร?

โรค จอประสาทตาเสื่อม เป็น โรค ที่ เกิด ความ ผิด ปกติ บริเวณ จุด รับ ภาพ

ใน ส่วน กลาง ของ จอประสาทตา และ เป็น หนึ่ง ใน สาเหตุ สำคัญ

ที่ ทำ ให้ หลาย คน สูญเสีย การ มอง เห็น ไป อาการ เบื้อง ต้น ของ โรค จอประสาทตาเสื่อม

คือ ผู้ ป่วย จะ ยัง คง มอง เห็น แต่ ไม่ สามารถ ระบุ รายละเอียด ของ สิ่ง นั้นๆ ได้ แต่ ยัง สามารถ ช่วยเหลือ ตัวเอง ได้ อยู่ บ้าง

วิธี รักษา โรค จอประสาทตาเสื่อม

ใน ปัจจุบัน ยัง ไม่ มี วิธี รักษา โรค จอประสาทตาเสื่อม ให้ หาย ขาด

มี เพียง วิธี ดูแล เพื่อ ชะลอ  ภาวะ การ เสื่อม ของ สายตา ให้ เกิดขึ้น ช้า ที่ สุด

โรค จอ ประสาท ตา เสื่อม แบ่ง ได้ เป็น 2 ประเภท ซึ่ง มี การ ดูแล ที่ แตก ต่าง กัน

โรค จอประสาทตาเสื่อม ชนิด แห้ง ใน ระยะ นี้ การ เสื่อม ของ จอ ประสาท ตา

จะ ดำเนิน ไป อย่าง ช้าๆ เป็น ระยะ ก่อน จะ ลุกลาม ไป ถึง ภาวะ จอประสาทตาเสื่อม ชนิด เปียก

ผู้ ที่ มี ภาวะ จอประสาทตาเสื่อม ใน ระยะ นี้ ควร ตรวจ เช็ค สายตา อย่าง สม่ำเสมอ

และ หลีก เลี่ยง ปัจจัย ที่ ยิ่ง กระตุ้น อาการ ของ การ เสื่อม ของ ประสาท ตา หรือ ทำให้ เกิด อาการ ปวดตา 

รวม ถึง ควร ใช้ เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ ตัวช่วย เพื่อ ป้องกัน สายตา จาก ตัว กระตุ้น เหล่านั้น 

ส่วน โรค จอ ประสาท ตา เสื่อม ชนิด เปียก สามารถ ดูแล และ ชะลอ อาการ ผิด ปกติ

ของ ภาวะ จอ ประสาท ตา เสื่อม ใน ระยะ  นี้ ได้ โดย การ ฉาย แสง ลง บน จอ ประสาท ตา

ซึ่ง จะ ช่วย ชะลอ โอกาส ที่ จะ เกิด เลือด ออก ใต้ จอ ประสาท ตา

ผล จาก อาการ ผิด ปกติ ของ หลอด เลือด ใน ส่วน นั้น ได้ อีก วิธี

คือ การ ฉีด ยา เข้า ใน น้ำ วุ้น ตา ก็ เป็น อีก วิธี ที่ สามารถ ช่วย ชะลอ อาการ ของ โรค จอประสาทตาเสื่อม ได้ เช่นกัน 

อย่าง ไร ก็ ดี วิธี ข้าง ต้น นั้น สามารถ ทำ ได้ เพียง ชะลอ อาการ

และ ทำ ให้ อาการ คงที่ แต่ ไม่ สามารถ กู้ คืน การ มอง เห็น ที่ สูญเสีย ไป แล้ว ให้ กลับ คืน มา ได้

ดังนั้น วิธี ที่ ดี ที่ สุด คือ การ ป้องกัน ไม่ ให้ เกิด ภาวะ จอ ประสาท ตา เสื่อม ขึ้น

วิธี การ ป้องกัน โรค จอประสาทตาเสื่อม

  1. หมั่น คอย ตรวจ เช็ค สุขภาพ สาย ตา เป็น ประจำ โดย เฉพาะ อย่างยิ่ง เมื่อ อายุ เริ่ม มากขึ้น หรือ มี กิจวัตร ประจำวัน ที่ ต้อง อยู่ หน้า จอ เป็น เวลา นานๆ หรือ ผู้ ที่ มี อาการ ปวด ตา เป็น ประจำ
  2. หลีก เลี่ยง การ สูบ บุหรี่
  3. หลีก เลี่ยง การ ได้ รับ แสง สี ฟ้า หรือ รัง สี อัลตราไวโอเลต เป็น ระยะ เวลา นาน นาน อย่าง ต่อ เนื่อง
  4. จัด การ กับ ความ เครียด อย่าง เหมาะสม
  5. หาก หลีก เลี่ยง ได้ ยาก หรือ ไม่ ได้ จริงๆ ควร หา ตัวช่วย ใน การ ผ่อน คลาย ดวง ตา เพื่อ ไม่ให้ สะสม อาการ ปวดตา จน ถึง ขึ้น เรื้อรัง

ตัวช่วย ป้อง กัน สาเหตุ ของ การ เกิด โรค จอ ประสาท ตา เสื่อม 

รีบ ป้องกัน ก่อน สาย ไป ด้วย เครื่อง นวด ตา อัจฉริยะ ฟูลิ

นวัตกรรม การ นวด ตา จาก ประเทศ ญี่ปุ่น

ที่ สามารถ นวด ได้ ตั้ง แต่ รอบ ดวง ตา ยัน ขมับ มา พร้อม โหมด การ นวด ที่ หลาก หลาย

ทำ ให้ ผ่อน คลาย ไป อีก ขั้น รวม ไป ถึง มี โหมด ความ อุ่น

กระตุ้น การ ไหล เวียน ของ โลหิต ช่วย ให้ ใต้ ตา ไม่ หมอง คล้ำ หรือ อ่อน ล้า จาก ภาย ใน

ทั้ง ยัง ลด ความ เสี่ยง การ เกิด โรค จอ ประสาท ตา เสื่อม  ให้ การ มอง เห็น ของ คุณ กลับ มา สดใส ไม่ เหนื่อย ล้า

รับ ประ กัน สินค้า 1 ปี เต็ม ไม่ ต้อง ลง ทะเบียน เปลี่ยน เครื่อง ใหม่ ให้ ทันที!

ใคร ปวดตา รีบกดรับโปรโมชั่นเลย ! คลิ๊ก!

Latest Stories

ส่วนนี้ยังไม่มีเนื้อหาใดๆ ในขณะนี้ เพิ่มเนื้อหาในส่วนนี้โดยใช้แถบด้านข้าง